ยินดีต้อนรับสู่เว็บบล็อกของ K4st นายประพล นัดดาพรหม ในรายวิชาสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับครู คลิกๆๆ รูปสวยๆน่ารักๆไว้ส่งต่อเพียบ...

19 ก.ค. 2554

powerpoint

สารสนเทศ 1

โครงการสอน

โครงการสอน
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับครู    
Information and Communication Technology for Teachers
รหัส PC54504            3(2-2-5)
ภาควิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
คณะครุศาสตร์   มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

1.  รหัสวิชา                                          PC54504
2.  ชื่อวิชา  (ภาษาไทย)                      เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับครู                      (ภาษาอังกฤษ)                Information and Communication Technology for Teachers
3.  จำนวนหน่วยกิต                           3(2-2-5)
4.  ภาคการศึกษา                                 ต้น
5.  ปีการศึกษา                                      2554 
6.  ผู้รับผิดชอบรายวิชา                      อาจารย์สุจิตตรา  จันทร์ลอย
7.  ลักษณะวิชา                                     หนวดวิชาทั่วไป
8. ชื่อหลักสูตร                                     ครุศาสตรบัณฑิต
9. วิชาระดับ                                         ระดับชั้นปีที่ 1     
10. จำนวนชั่วโมงที่สอน/สัปดาห์   3 คาบ/สัปดาห์

11.คำอธิบายรายวิชา(Course description)     
                ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ  ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  เช่น  ไมโครคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบเน็ตเวิร์ก  ระบบซอฟต์แวร์  การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ  เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ ทักษะการเข้าถึงสารสนเทศ  ฐานข้อมูลสารสนเทศ  ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์และการอ้างอิง  ฝึกปฏิบัติการ  สามารถใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานและใช้เทคโนโลยีสานสนเทศและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมได้





12.  วัตถุประสงค์ทั่วไป
วัตถุประสงค์ทั่วไป (Course General)
                เมื่อผู้เรียนได้ร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนครบทุกหน่วยการเรียนแล้วจะมีความสามารถหรือพฤติกรรมดังนี้                       
1.             อธิบายความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.             อธิบายความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้
3.             ยกตัวอย่างเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่แสดงถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้
4.             อธิบายระบบสื่อสารข้อมูลและระบบเน็ตเวิร์กได้
5.             ยกตัวอย่างซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศและระบบสื่อสารข้อมูลได้
6.             อธิบายองค์ประกอบและกระบวนการจัดการทรัพยากรสารสนเทศได้
7.             อธิบายเครื่องมือและทักษะที่เข้าถึงสารสนเทศได้
8.             อธิบายเกี่ยวกับความหมาย  ประเภทของฐานข้อมูล
9.             อธิบายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์และการอ้างอิงได้
10.      สามารถใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานเพื่องานสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
11.วัตถุประสงค์ของวิชา (Course of Objectives)










12.เนื้อหาบทเรียน
                หน่วยการเรียนที่ 1  ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.1      ความหมาย  ความสำคัญ  และประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.2      วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.3      องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.4      เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานสารสนเทศ
1.5      ข้อดี  ข้อจำกัด  และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
                หน่วยการเรียนที่ 2  ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1      รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
2.2      พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.3      การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนที่ 3  การสื่อสาร
3.1      ความหมาย และความสำคัญของการสื่อสาร
3.2      หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
3.3      องค์ประกอบพื้นฐานของระบบการสื่อสาร
3.4      ขอบข่าย ชนิด วิธีการ และรูปแบบการสื่อสาร
3.5      อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสาร
3.6      การวิเคราะห์ระบบการสื่อสาร
                หน่วยการเรียนที่ 4  ระบบเครือข่าย
4.1      พื้นฐานของระบบเครือข่าย
4.2      อินเตอร์เน็ต
4.3      ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
4.4      การประยุกต์ใช้เครือข่ายเพื่อการเรียนการสอน
                หน่วยการเรียนที่ 5  ระบบซอฟต์แวร์
5.1      ความหมาย  ความสำคัญ  และประเภท
5.2      ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน
5.3      การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ในการเรียนการสอน
                หน่วยการเรียนที่ 6  การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
6.1      ประเภท และชนิดของเทคโนโลยีสารสนเทศ
6.2      การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับการเรียนการสอน
                หน่วยการเรียนที่ 7  เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
7.1      ประเภท และชิดของเครื่องมือเข้าถึงสารสนเทศ
7.2      การใช้งานเครื่องมือเข้าถึงสารสนเทศ
7.3      ทักษะการเข้าถึงสารสนเทศ
หน่วยการเรียนที่ 8 ฐานข้อมูลสารสนเทศ
8.1      ฐานข้อมูลสารสนเทศ
8.2      ขอบเขตการเข้าถึงสารสนเทศ
                หน่วยการเรียนที่ 9  ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์และการอ้างอิง
9.1      ความหมายของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
9.2      การสืบค้นและหลักการอ้างอิง
                หน่วยการเรียนที่ 10  แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                10.1
                                10.2
 ระบบปัญญาประดิษฐ์
                         เทคโนโลยีการสื่อสารทุกที่ทุกเวลา
                        เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
                         นาโนเทคโนโลยีนวัตกรรมแห่งอนาคต
                         รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

13.  กำหนดการเรียนการสอนต่อสัปดาห์ (Course Outline)
สัปดาห์ที่
วันที่
หัวข้อการบรรยาย
ผู้สอน
การประเมินผล
หมายเหตุ
1
6 พ.ย. 52
แนะนำรายวิชา/และกิจกรรมที่จะเรียนตลอดภาคเรียน มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าทำรายงานเอกสารที่เกี่ยวข้อง     
อ.สุจิตตรา  จันทร์ลอย
การสังเกต

2
11 พ.ย. 52
ความหมายของเทคโนโลยีและเทคโนโลยีการศึกษา
อ.สุจิตตรา  จันทร์ลอย
การสังเกต
การร่วมกิจกรรม

3
20 พ.ย. 52
ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมทางการศึกษา บทบาทและการนำไปใช้
อ.สุจิตตรา  จันทร์ลอย
การสังเกต
การร่วมกิจกรรม
การซักถาม

4
27  พ.ย. 52
สื่อมวลชนและสื่อการสอนทุกแขนง
อ.สุจิตตรา  จันทร์ลอย
การสังเกต
การซักถาม
แบบฝึกท้ายบท

5
4  ธ.ค. 52
จิตวิทยาการรับรู้ การเรียนรู้ และจิตวิทยาพัฒนาการ
ผศ.วิวรรธน์ จันทร์เทพย์
หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา ม.ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
การสังเกต
การซักถาม
การมีส่วนร่วม

6
11 ธ.ค. 52
วิธีการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการศึกษา
อ.สุจิตตรา  จันทร์ลอย
การสังเกต
การซักถาม
การร่วมกิจกรรม
ผลงานจากการปฏิบัติ

7
18 ธ.ค. 52
สอบย่อย ระหว่างเรียน

อ.สุจิตตรา  จันทร์ลอย
การสังเกต
ผลสอบ

8
8  ม.ค. 53
นำเสนอการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม (3กลุ่ม)
อ.สุจิตตรา  จันทร์ลอย
อ.ลัดดาวรรณ์  ประสูตร์แสงจันทร์
การสังเกต
การมีส่วนร่วม
การอภิปราย

9
15 ม.ค. 53
นำเสนอการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม (3กลุ่ม)
อ.พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์
อ.สุจิตตรา จันทร์ลอย
การสังเกต
การมีส่วนร่วม
   การอภิปราย

10
22ม.ค. 53
สื่อคอมพิวเตอร์และการตกแต่งภาพ
อ.สุจิตตรา จันทร์ลอย

การสังเกต
การมีส่วนร่วม
การอภิปราย

11
29ม.ค. 53
ฝึกปฏิบัติ
อ.สุจิตตรา จันทร์ลอย
การสังเกต
การซักถาม
การร่วมกิจกรรม
ผลงานจากการปฏิบัติ

12
5 ก.พ. 53
ฝึกปฏิบัติ
อ.สุจิตตรา จันทร์ลอย
การสังเกต
การซักถาม
การร่วมกิจกรรม
ผลงานจากการปฏิบัติ

13
12 ก.พ. 53
ฝึกปฏิบัติ
อ.สุจิตตรา จันทร์ลอย

การสังเกต
การมีส่วนร่วม
การอภิปราย

14
19 ก.พ. 53
การจัดนิทรรศการ 4 กลุ่มใหญ่        
อ.สุจิตตรา จันทร์ลอย

การสังเกต
การมีส่วนร่วม
การอภิปราย

15
26 ก.พ. 53
สรุปเนื้อหาภาพรวมทั้งหมด
อ.สุจิตตรา จันทร์ลอย
การสังเกต
การซักถาม


14. สื่อและอุปกรณ์การสอน
การลงมือปฏิบัติการผลิตและทดลองใช้สื่อหลายรูปแบบ  เช่น  สื่อกราฟิก  สื่อคอมพิวเตอร์  สื่อกิจกรรมประเภทนิทรรศการ  สื่อวีดิทัศน์

15. กิจกรรมการเรียนการสอน
กระบวนการเรียนการสอนในวิชานี้เน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการมีส่วนร่วมด้วยการสังเกต  ตอบคำถาม  อภิปราย   ทำรายงาน  ศึกษาค้นคว้า  การลงมือปฏิบัติการผลิตและทดลองใช้สื่อหลายรูปแบบ  เช่น  สื่อกราฟิก  สื่อคอมพิวเตอร์  สื่อกิจกรรมประเภทนิทรรศการ  เป็นต้น
17. การวัดผลการเรียน
การวัดและประเมินผลอัตราส่วนคะแนน  80 :  20  โดยแบ่ง 2  ส่วนดังนี้
คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน                                                                          80  คะแนน
  17.1 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน                                    5  คะแนน
  17.2  รายงานการศึกษาค้นคว้า                                                                      20  คะแนน
  17.3  การผลิตตัวอักษรหัวเรื่องสีไม้                                                             10  คะแนน
  17.4  การผลิตสื่อคอมพิวเตอร์ (presentation)                                           15  คะแนน
  17.5  การสร้างสรรค์สื่อป้ายนิเทศ (งานกลุ่ม)                                          20  คะแนน
คะแนนสอบปลายภาคเรียน                                                                             20  คะแนน

18.  เกณฑ์การประเมิน
      
คะแนน (ร้อยละ)
เกรด
85-100
A
81-84
B+
75-80
B
65-74
C+
55-64
C
50-54
D+
45-49
D
0-44
F


19.  หนังสือ/เอกสาร สำหรับอ่านประกอบ
กิดานันท์  มลิทอง.  เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย.  พิมพ์ครั้งที่ 2  กรุงเทพมหานคร: เอดิสันเพลส
               โพรดักซ์  จำกัด,  2536.
กิดานันท์  มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
                มหาวิทยาลัย  2540.
เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์. การจัดการเครือข่าย: กลยุทธสู่ความสำเร็จของการปฏิรูปการศึกษา.
                กรุงเทพฯ: ชัคเชสมีเดีย, 2543.
ชลิยา  ลิมปิยากร.  เทคโนโลยีการศึกษา.  พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร: พิศิษฐ์การพิมพ์, 2536
ไชยยศ  เรืองสุวรรณ.  เทคโนโลยีการศึกษา  : หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร:  วัฒนา               พานิช,2526
ธีราวุธ  ปัทมวิบูลย์และคณะ  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์.  กรุงเทพฯ:  โปรวิชั่น,  2545.
ถนอมพร  (ตันพิพัฒน์)เลาหจรัสแสง.  Design  e-Learning หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อ
                การเรียนการสอน.  จังหวัดเชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545.
ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ.  Multimedia ฉบับพื้นฐาน.  กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2546.
ปรีดา  ยังสุขสถาพร.  Essentials of Creating Innovation Company : วิถีสู่แก่นแท้องค์กรแห่งนวัตกรรม.  กรุงเทพฯ : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2551.
ปิ พนิดา พานิชกุล.  เทคโนโลยีสารสนเทศ.  กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2548.
วิทยา  เรืองพรวิสุทธิ์  เรียนรู้อินทราเน็ตระบบเครือข่ายองค์กรยุคใหม่.  กรุงเทพฯ:  ซีเอ็ดยูเคชั่น,                2542.
วิเศษศักดิ์  โคตรอาศาและคณะ.  เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้.  กรุงเทพฯ:  คอมฟอร์ม  2542.
วิวรรธน์  จันทร์เทพย์.  เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีการศึกษา. คณะครุศาสตร์  สถาบัน
                ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ราชบุรี, 2543
วารินทร์  รัศมีพรหม.  สื่อการสอนเทคโนโลยีการศึกษาและการสอนร่วมสมัย.  กรุงเทพมหานคร:             ชวนพิมพ์,  2531
สานิตย์  กายาผาด, ไชยา  ภาวบุตร  และสุรศิลป์  มูลสิน.  เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต. 
                กรุงเทพฯ:  คอมฟอร์ม  2542.
สุธี พงศาสกุลชัย.  เว็บเทคโนโลยี (Web Technology).  กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2551.
สมบูรณ์  สงวนญาติ.  เทคโนโลยีทางการเรียนการสอน.  กรุงเทพมหานคร:  กรมการศาสนา, 2534 
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.  แนวทางการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาตาม พรบ.   การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.  กรุงเทพมหานคร:  พริกหวานกราฟิกจำกัด, 2542
อวยพร โกมลวิจิตรกุล.  ครบวงจรตัดต่อวิดีโออย่างมืออาชีพ Premiere Pro, Ulead VideoStudio7 & After Effects.  กรุงเทพฯ : สวัสดี ไอที, 2547.
อัศวิน โอกาด้า.  สร้างงานแอนิเมชันให้มีชีวิตด้วย Flash Basic.  กรุงเทพฯ : โรงเรียนอินเทอร์เน็ตและการออกแบบ (NetDesign), 2551.

Dick, W., & Carey, L. The Systematic Design of Instruction (4th  ed.). New York  Harper 
               Collins  College Publishes. 1996.
Gagne,R.M.,Briggs. L.J.,&Wager, w.w. Principles of Instructional Design (4thEd.).
               New York:Holt, Rinehart and Winston, 1992.
Heinich R.Molenda M.and Russell J. Instructional Media and New Technology of Instruction.           
              Macmillan Publishing: New York, 1989.
Kemp, I.B., Morrison, G.R., & Ross, S.M. Designing Effective Instruction. New York : Merrill,
            1994.
.
20.  ที่อยู่ของผู้สอน : อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย
       ห้องทำงาน  อาคารเรียน 7   เบอร์โทรศัพท์ภายใน : 032-261790 ต่อ 3002
                                                                เบอร์โทรศัพท์มือถือ  :  089-8216240
weblog : joylunch.blogspot.com
      


เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
สิงห์บุรี, เมือง, Thailand

MusicPlaylistView Profile
Create a playlist at MixPod.com ;

ชอบหรือไม่ชอบ

คลิกๆๆ รูปสวยๆน่ารักๆไว้ส่งต่อเพียบ... คลิกๆๆ รูปสวยๆน่ารักๆไว้ส่งต่อเพียบ... คลิกๆๆ รูปสวยๆน่ารักๆไว้ส่งต่อเพียบ...